วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 2)

จากบทความที่แล้ว
จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 1)
ผมได้แนะนำรูปแบบของการประกอบธุรกิจ ว่ามันมีกี่รูปแบบ เมื่อไหร่ที่ต้องจด

ก็จะเข้าสู่ ที่ผมเจอคำถามค่อนข้างบ่อยมาก ถึงมากที่สุด คือ แล้วเราควรจะจดทะเบียนรูปแบบไหนดี ที่จะทำให้เราประหยัดภาษีมากที่สุด

เมื่อเจอคำถามนี้ โดยส่วนใหญ่ ผมจะถามกลับไปทุกราย
"รายได้ และค่าใช้จ่าย ของธุรกิจคุณ คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณเท่าไหร่"
สิ่งที่ผมถาม เป็นสิ่ง เบื้องต้นในการวางแผนในการดำเนินธุรกิจ รวมไปถึงการวางแผนภาษีด้วย

ทีนี้สำหรับคนที่เริ่มประกอบธุรกิจ ยังไม่ทราบถึงรายได้ และค่าใช้จ่ายที่แน่ชัด จะทำอย่างไรดี แต่อยากจะทำให้ถูกต้องตั้งแต่แรกเลย
  • จดทะเบียนพาณิชย์ ในรูปแบบของร้านค้า (บุคคลธรรมดา) สำหรับกิจการที่มียอดขายตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป
  • ลองทำบัญชีรับ - จ่ายของกิจการตัวเองดูครับ ซัก 3 - 6 เดือน
    ผมว่า เราน่าจะเห็นแนวโน้มแล้ว เราค่อยมาตัดสินใจเลือก ว่าเราจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล (บอกตรง ๆ ว่าตัวผมเอง ก็เริ่มจากแบบนี้เหมือนกัน ก็ผมเป็นบัญชี นี่เนอะ 555+)
งั้นเราลองมาดู ตัวอย่างกันซักนิดนะครับ
สมมติ ว่า กิจการประกอบธุรกิจขายสินค้า ทางอินเทอร์เน็ต มีรายได้ในปี 2560 ประมาณ 3 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายตามจริงในปี 2560 2.1 ล้านบาท กำลังตัดสินใจว่าจะเลือกใช้จดทะเบียนแบบไหน และวิธีไหน ถึงจะประหยัดภาษีมากที่สุด
รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
บุคคลธรรมดา (เหมา) บุคคลธรรมดา (หักตามจริง) นิติบุคคล (หักตามจริง)
- รายได้ 3,000,000 3,000,000 3,000,000
- ค่าใช้จ่าย (เหมาได้ 60%) 1,800,000 2,100,000 2,100,000
- กำไรขั้นต้น 1,200,000 900,000 900,000
- หัก ค่าใช้จ่ายส่วนตัว 60,000 60,000 -
- หัก ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชี (ประมาณ) - 36,000 36,000
- กำไรสุทธิ ที่นำไปคำนวณภาษี 1,140,000 804,000 864,000
- คำนวณภาษี ตามวิธีที่ 1 150,000 75,800 84,600
- คำนวณภาษี ตามวิธีที่ 2 15,000 15,000 -
- ภาษีที่ต้องชำระ 150,000 75,800 84,600
- ภาษีที่ต้องชำระ + ค่าใช้จ่ายทางบัญชี 150,000 111,800 120,600

จากตาราง จะเห็นได้ว่า
  • การจดทะเบียนรูปแบบ บุคคลธรรมดา (หักค่าใช้จ่ายตามจริง) จะเป็นทางออกในการประหยัดภาษีให้คุณครับ เพราะจากโจทย์ตัวอย่าง ผมสมมติด้วยว่า ว่าคุณมีการจ้างสำนักงานบัญชี เพื่อทำบัญชีให้ด้วยนะครับ คุณก็ยังสามารถประหยัดเงินในกระเป๋าของคุณไปได้ถึง 38,200.- บาท

    แต่หากคุณมองว่า คุณอยากจะลดความซับซ้อนในการดำเนินธุรกิจ เพราะคุณทำคนเดียว ขายคนเดียว การเลือก รูปแบบของบุคคลธรรมดา (หักค่าใช้จ่ายด้วยวิธีเหมาจ่าย) ก็จะเป็นทางออกอีกทางหนึ่งครับ
ดังนั้น "การวางแผนภาษี หากเราประมาณการณ์ รายได้ หรือค่าใช้จ่าย ได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากเท่าใด เราก็จะวางแผนได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากขึ้นตามไปด้วยครับ"

หมายเหตุ : การคำนวณภาษีในโจทย์ตัวอย่าง เป็นการสมมติฐานทางตัวเลขเท่านั้น สำหรับภาษีบุคคลธรรมดา มันยังมีอีกหลาย ๆ ตัวแปร ที่สรรพากรยอมรับให้หัก เป็นค่าลดหย่อนได้ เช่น
  • ลดหย่อนบุตร
  • ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย
  • ประกันชีวิต
  • เงินลงทุน ใน RMF LTF
แล้วถ้าเลือก ทำในรูปแบบของบุคคลธรรมดา เราต้องทำอะไรเพิ่ม แล้วควรจะจ้างสำนักงานบัญชีไหม สิ่งที่คุณต้องทำ ถ้าเลือกจดทะเบียน และทำบัญชีให้ถูกต้อง คือ
  • จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เพราะจากโจทย์ตัวอย่าง คุณมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี และต้องทำรายงานภาษีซื้อ - ภาษีขาย นำส่งภ.พ.30 ทุกวันที่ 15 ของเดือนถัดไป และยังต้องทำรายงานสินค้าคงเหลือด้วย
  • จัดทำบัญชีรับ - จ่าย ให้เป็นไปตามหลักการที่สรรพากรยอมรับ เช่น การหักค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน การขอใบกำกับภาษีในนามร้านค้า
  • ต้องยื่นภ.ง.ด. 94 ภายในวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี
  • ต้องยื่นภ.ง.ด. 90 ภายในวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี
ถ้าคุณสามารถทำสิ่งเหล่านี้เองได้ ก็ไม่ต้องใช้บริการสำนักงานบัญชีหรอกครับ แต่ถ้าไม่ได้ หรือกลัวความผิดพลาด ผมก็แนะนำว่าคุณควรจะใช้บริการของสำนักงานบัญชี ให้เค้าดูแลคุณนะครับ

จุดที่ต้องระวัง สำหรับร้านค้า ที่เป็นรูปแบบของบุคคลธรรมดา และเจอค่อนข้างบ่อย คือ
  • มีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท แต่ไม่ได้จดทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
    (จดทะเบียนกับสรรพากร นับจากวันที่มีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท ประมาณ 30 วัน)
  • อัตราภาษีของบุคคลธรรมดา สูงสุดที่ 35% หากวางแผนไม่ดี อาจจะเสียภาษีมากกว่านิติบุคคล โดยไม่รู้ตัว
  • มีการคำนวณภาษี 2 วิธี ซึ่งต้องคำนวณทั้ง 2 วีธี แล้วเปรียบเทียบว่า แบบไหนมากกว่า ให้เสียตามนั้น ดังนั้น ก็อาจจะยังต้องจ่ายภาษีอยู่ดี
แล้วถ้าเราตัดสินใจว่า จะจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล เพราะกิจการของเราขยายตัวค่อนข้างแน่ และรายได้ ของเราจะไม่หยุดแค่เท่านี้ เราต้องรู้อะไรบ้าง
เดี๋ยวมาต่อในภาค 3 ให้นะครับ

จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 3)

รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
 

ติดต่อ คุณทศพร
Tel.       : 02-408-4215
Hotline : 081-616-1315
Email    : jtac24569@gmail.com


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น