วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 1)

สวัสดีครับ บทความวันนี้ ผมได้มาจากหลาย ๆ ท่าน ที่สอบถามผมมาในหลาย ๆ ช่องทาง ไม่ว่าจะ Email เข้ามาสอบถามก็ดี หรือโทรเข้ามาสอบถามก็ดี เป็นคำถามที่ผมพบค่อนข้างบ่อยครับ เลยถือโอกาสเขียนเป็นบทความขึ้นมา เพื่อเป็นการตอบคำถามไปในตัวเลยละกัน

เป็นปัญหาโลกแตกนะครับ ถ้าเราจะทำธุรกิจ เราควรจะจดทะเบียนเป็นรูปแบบไหนดี ? รูปแบบไหนจะประหยัดภาษีมากกว่ากัน ? จำเป็นต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเลยไหม ? ขึ้นทะเบียนประกันสังคมได้ไหม ? แล้วเราควรจะตัดสินใจอย่างไรดี ?
"บางครั้งจำเป็นต้องจดเพราะลูกค้าที่ไปคุยไว้ อยากได้ใบกำกับภาษีจากเรา"

ก่อนอื่นเลยเรามาทำความเข้าใจกันก่อนเลยว่า การจดทะเบียนเพื่อประกอบธุรกิจนั้น นั้นจะมีรูปแบบต่าง ๆ  ดังนี้
รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
รูปแบบของธุรกิจ ต้องมีผู้ถือหุ้น เสียภาษีในอัตราของ หักค่าใช้จ่ายในอัตราเหมา หักค่าใช้จ่ายตามจริง จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ขึ้นทะเบียนประกันสังคม
- ร้านค้า 1 คน บุคคลธรรมดา ได้ ได้ ได้ ได้
- ห้างหุ้นส่วนสามัญ 2 คนขึ้นไป บุคคลธรรมดา ได้ ได้ ได้ ได้
- ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล 2 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้
- ห้างหุ้นส่วนจำกัด 2 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้
- บริษัทจำกัด 3 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้

- ในตารางนี้ จะไม่พูดถึง บริษัทมหาชน กิจการร่วมค้า และกิจการไม่แสวงหาผลกำไรนะครับ

ซึ่งหากดูจากรูปแบบของธุรกิจแล้วจะพบว่า ทุก ๆ รูปแบบของธุรกิจ สิ่งที่แตกต่างกัน คือ
  • จำนวนผู้ถือหุ้น หรือคนลงทุน
  • เสียภาษี ในรูปแบบที่ต่างกัน "บุคคลธรรมดา" กับ "นิติบุคคล"
  • รูปแบบการหักค่าใช้จ่าย "หักค่าใช้จ่ายในอัตราเหมา" กับ "หักค่าใช้จ่ายตามจริงและสมควร"
  • แต่ที่ไม่ต่างกันเลย คือ การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และการขึ้นทะเบียนประกันสังคม ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบไหน สามารถจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และขึ้นทะเบียนประกันสังคมได้นะครับ
ทีนี้เรามาแตกทีละประเด็นนะครับ
  • เราจำเป็นต้องจดทะเบียน เมื่อไหร่ ?
    จริง ๆ การจดทะเบียน ตามกฎหมาย เค้าระบุไว้ชัดเจนนะครับ ว่าเมื่อคุณมียอดขายตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป ก็ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ (ตามพรบ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.2499) ซึ่งรูปแบบของการจดทะเบียนพาณิชย์ ก็ตามตารางที่ผมให้ไว้เลยครับ
  • เราจำเป็นต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เมื่อไหร่ ?
    ตามกฎหมายระบุไว้ว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่กิจการมียอดขาย หรือบริการเกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี ก็ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มครับ แต่ถ้ารายได้ยังไม่ถึง แต่ต้องการจะจด ก็สามารถทำได้ครับ แต่เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว จะต้องยื่นแบบภ.พ.30 ทุกเดือน และจะต้องทำรายงานสินค้าคงเหลือด้วยนะครับ (อันนี้แหละครับ เป็นหนึ่งในจุดตัดสินใจ ว่าเราจะเลือกใช้บริการจากสำนักงานบัญชี หรือไม่)
  • เราจำเป็นต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม เมื่อไหร่ ?
    ตามกฎหมายระบุไว้นะครับ ว่าหากมีการประกอบธุรกิจ แล้วมีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ก็ต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างรายชั่วโมง รายวัน หรือรายเดือน เว้นแต่บุคคลหรือกิจการที่ไม่ได้ใช้บังคับตามกฎหมายประกันสังคม
  • จดทะเบียนในรูปแบบไหนดี แบบไหนประหยัดภาษีกว่ากัน ?
    เรื่องนี้ต้องคุยกันยาว ขอต่อให้ในภาค 2 นะครับ อย่าเพิ่งเบื่อกันนะครับ
จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 2)

รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
 

ติดต่อ คุณทศพร
Tel.       : 02-408-4215
Hotline : 
081-616-1315
Email    : jtac24569@gmail.com

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น